วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557

การตรวจสอบการใช้จ่ายวันลอยกระทง


วันลอยกระทง
ข้อบกพร่อง วันลอยกระทง
1. จ้างเหมาแต่งหน้า แต่งตัว ทำผม
2. จ้างเหมาประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
3. จัดซื้อตุ๊กตาโมเดลสำหรับผู้เข้าประกวด
4. ค่าตอบแทนพิธีกร และค่าเช่าชุดพิธีกรพร้อมแต่งหน้า
5. ค่าของชำร่วย
6. ค่าจ้างนักร้อง วงดนตรี มหรสพต่าง ๆ การแสดงรำวงย้อนยุค
7. สนับสนุนชุมชนในการตกแต่งขบวนแห่กระทง
8. จัดทำสปอร์ตโฆษณาประชาสัมพันธ์

 

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
1. ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินฯ พ..2547 ข้อ 67 กำหนดว่า อปท.จะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือสัง่ การกระทรวงมหาดไทยกำหนดไว้
    ดังนั้น การซื้อสิ่งของแจกให้ประชาชน จึงมิใช่ความหมายค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ และไม่มีระเบียบกำหนดจึงไม่สามารถเบิกจ่ายได้
2. หนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ มท. 0313.4/ 1347 ลงวันที่ 19 ..2541เรื่องค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ของ อปท. กำหนดให้ อปท.ถือปฏิบัติในการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ทั้งในกรณีที่ดำเนินการเองหรืออุดหนุนหน่วยงานอื่นโดยให้เบิกได้ตามงบประมาณที่ตั้งไว้ และเบิกจ่ายได้เท่าที่จำเป็นและประหยัดโดยคำนึงถึงฐานะการคลังของ อปท. เป็นสำคัญ

หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ 3722 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ของ อปท. ดังนี้
1) ต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่หรือมีกฎหมายให้อำนาจโดย อปท.ต้องกำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการไว้ในโครงการจัดงาน
2) กิจกรรมจะต้องเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนที่ให้ประโยชน์หรืออำนวยความสะดวกแกประชาชนทั่ว่ไป เช่น การให้ความรู้อันเป็นประโยชน์ หรือการส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญและรักษาไว้ซึ่งศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
3) กิจกรรมที่ดำเนินการจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หากไม่ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวจะทำให้โครงการไม่บรรลุวัตถุประสงค์
4) หากมีการจัดประกวด แข่งขัน มีการมอบรางวัล มูลค่ารางวัลต้องมีสัดส่วนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับโครงการ โดยเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเท่าที่จำเป็นเหมาะสมและประหยัด 

หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ 3475 ลงวันที่ 11 ..2550 เรื่องขอให้ทบทวนและกำหนดมาตรการป้องปราม กรณี อปท.ใช้งบประมาณทางราชการจัดซื้อสิ่งของแจกราษฎรโดยใส่ชื่อของตนลงบนสิ่งของ กำหนดว่า
1) วัสดุสิ่งของที่ อปท นำไปช่วยเหลือประชาชน หรือเงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น โดยใช้งบประมาณของ อปท.ไม่สามารถระบุข้อความหรือรูปภาพหรือระบุชื่อหรือสัญลักษณ์อื่นใดของผู้ช่วยเหลือ แต่สามารถระบุได้เฉพาะชื่อหน่วยงานของ อปท.
2) การประชาสัมพันธ์ผลงานของ อปท. เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ ปฏิทิน เป็นต้นหากมีภาพกิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเป็นกรณีที่องค์ประกอบของภาพบ่งบอกถึงกิจกรรมนั้น ๆ
3) การให้ความช่วยเหลือ จะกระทำได้เฉพาะกรณีจำเป็น และเป็นไปอย่างประหยัด และดำเนินการดังกล่าว จะต้องไม่ส่อไปในทางหาเสียง เพื่อผลประโยชน์ในทางการเมืองท้องถิ่น
4) อปท.ควรให้ความสำคัญในการจัดทำโครงการที่ใช้จ่ายงบประมาณในลักษณะที่ตอบสนองความต้องการแก้ไขปัญหาของประชาชนอย่างแท้จริง ไม่สมควรตั้งงบประมาณในลักษณะฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ หรือตั้งงบประมาณในลักษณะเป็นการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล 

หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ 1961 ลงวันที่ 8 .. 2556 เรื่อง ขอให้กำหนดมาตรการเพื่อใช้เป็นแนวทางกรณีการเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงาน ซึ่งมีแนวทางปฏิบัติงานที่ชัดเจน ดังนี้
1. การดำเนินการจัดงานต่างๆ ต้องอยู่ในอำนาจหน้าทีหรือมีกฎหมายให้อำนาจ โดย อปท.ต้องกำหนดกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการไว้ในโครงการจัดงาน
2. กิจกรรมจะต้องเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนที่ให้ประโยชน์หรืออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นการทั่ว ไป เช่น การจัดกิจกรรมให้ความรู้อันเป็นประโยชน์ หรือเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญ และรักษาไว้ซึ่งศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
3. กิจกรรมที่ดำเนินการจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หากไม่ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวจะทำให้โครงการไม่บรรลุวัตถุประสงค์
4. หากโครงการที่มีการจัดการประกวด หรือแข่งขันและมีการมอบรางวัล มูลค่าต้องมีสัดส่วนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับโครงการโดยเบิกค่าใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น เหมาะสม และประหยัด 

หนังสือซักซ้อม เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ จารีตประเพณีท้องถิ่น

6. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ 1639 ลงวันที่ 17 เม.. 2556 เรื่องหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมและบำรุงรักษาจารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีของ อปท. กำหนดว่า อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของ อปท. เกี่ยวกับการบำรุงรักษา จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น จะต้องมีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ หรืออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นการทั่วไป เช่น การจัดกิจกรรม ส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปในการปฏิบัติตามแบบอย่างประเพณี หรือวัฒนธรรมไทยมิใช่ส่งเสริมสนับสนุนหรือบำรุงจารีตประเพณี หรือวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น โดยการออกค่าใช้จ่ายให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่จะประกอบพิธีกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นเรื่องเฉพาะตัวที่บุคคลนั้นจะตอ้งกระทำตามประเพณี หรือวัฒนธรรมที่บุคลนั้นเชื่อถือ หรือปฏิบัติซึ่งบุคคลนั้นมีสิทธิ และเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. ๒๕๕๐มาตรา ๓๗ โดยบุคคลนั้นจะต้องกระทำด้วยค่าใช้จ่ายของตนเอง

 
ข้อบกพร่อง งานวันลอยกระทง 

ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
1.โครงการประเพณีลอยกระทง เบิกจ่าย
ค่าจ้างเหมาแต่งหน้า แต่งกาย ทำผมขบวนแห่
ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารและน้ำดื่มสำหรับ
เจ้าหน้าที่ (กลางวันและกลางคืน)
เ ป็น ก า ร ป ฏิบัติไ ม่ถูก ต้อ ง ต า ม ร ะ เ บีย บ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิก
จ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและตรวจเงิน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2547 ข้อ 67
ที่กำหนดว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะจ่ายเงิน
หรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการที่กระทรวงมหาดไทย
กำหนดไว้ และข้อ 73 กำหนดว่าการจ่ายเงินให้แก่
เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินทุกรายการ จะต้องมี
หลักฐานการจ่ายไว้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ
ซึ่งไม่มีระเบียบให้เบิกจ่ายได้
ให้เรียกเงินจากผู้รับผิดชอบส่งคืนคลังเทศบาลฯ
แล้วส่งสำเนาใบเสร็จรับเงินและหลักฐานการนำเงิน
ฝากธนาคารให้สำ นักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด
ตรวจสอบ
กำชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้อง
ศึกษาระเบียบ หนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย
ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายแต่ละรายการให้เข้าใจ
และถือปฏิบัติให้ถูกต้องโดยเคร่งครัด
2. โครงการลอยกระทง เบิกค่าใช้จ่าย
ต่าง ๆ ได้แก่
1) จัดซื้อตุ๊กตาโมเดลสำ หรับผู้เข้า
ประกวด เทศบาลชี้แจงว่าได้ดำเนินการโครงการ
งานวันลองกระทง โดยมอบตุ๊กตาโมเดลเป็นของ
รางวัลในการแข่งขันให้กับผู้เข้าประกวดนางนพ
มาศทุกคน เพื่อเป็นขวัญกำลังใจและจูงใจให้มีผู้
เข้ามาสมัครประกวดเป็นนางนพมาศ อาศัยตาม
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.4/
1347 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2541 เรื่อง
ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
1) การจัดซื้อตุ๊กตาโมเดลสำ หรับผู้เข้า
ประกวดนางนพมาศ นั้นเห็นว่าเป็นการจัดซื้อที่
ไม่จำเป็นและประหยัด แม้ว่าเทศบาลจะชี้แจงว่าได้
มอบตุ๊กตาโมเดลเป็นของรางวัลในการแข่งขันให้กับผู้
เข้าประกวดนางนพมาศทุกคน เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ
และจูงใจให้ผู้เข้าประกวดมาสมัครเป็นนางนพมาศ
ก็ตาม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ..
2552 เห็นว่าการประกวดคือ แข่งขันเพื่อเลือก
เฟ้นเอาดี โดยมีการตัดสิน คำว่าเลือกเฟ้นเอาดี คือ
การกำหนดให้มีการลดหลั่นกันตามลำดับ ซึ่งผู้เข้า
ประกวดย่อมมีสิ่งจูงใจโดยต้องการได้ตำ แหน่ง
นางนพมาศและเงินรางวัลอยู่แล้ว และหากไม่ได้
ตำแหน่งก็ย่อมไม่ได้รางวัลซึ่งเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ
ของการประกวด การแข่งขันโดยทั่วไป ซึ่งต้องมี
 

 

 

ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2) ค่าตอบแทนพิธีกร และค่าเช่าชุด
พิธีกรพร้อมแต่งหน้า เทศบาลชี้แจงว่า มีพิธีกร
โดยได้เชิญบุคคลภายนอกซึ่งมีประสบการณ์ใน
การจัดงาน จึงเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้ ส่วนการ
เช่าชุดพร้อมแต่งหน้าพิธีกรเป็นการจ้างที่มุ่งเน้น
ให้พิธีกรมีการแต่งกายที่เข้ากับโครงการ
เนื่องจากเทศบาลกำหนดให้ผู้เข้าประกวดนาง
นพมาศทุกคนจะต้องแต่งกายด้วยชุดไทย พิธีกร
จึงต้องมีความจำเป็นที่จะต้องแต่งกายด้วยชุด
ไทยให้เข้ากับลักษณะงานที่จัดขึ้น ซึ่งการบริการ
ให้เช่าชุดไทยและอุปกรณ์การตกแต่ง โดยทั่วไป
จะมีราคาสูง เทศบาลจึงพิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อ
เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับพิธีกรจึงได้
จ่ายค่าชุดเพิ่มขึ้น
 
เกณฑ์การตัดสินแพ้-ชนะ
กรณีดังกล่าวถือเป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.4/ 1347 ลงวันที่
19 พฤษภาคม 2541 เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
ต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบกับ
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ 3722
ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจ
เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
2) กรณีการเบิกจ่ายค่าจ้างพิธีกรและเบิกจ่าย
ค่าเช่าชุดพิธีกรพร้อมแต่งหน้า กรณีนี้ถือเป็นการ
เบิกจ่ายที่ซ้ำซ้อนและไม่จำเป็น เนื่องจากการจ้าง
พิธีกรได้มีการจ่ายเงินค่าตอบแทนไปแล้ว และหาก
ต้องการพิธีกรที่มีประสบการณ์โดยตรง (มืออาชีพ)
ตามปกติบุคคลดังกล่าวจะต้องมีการเตรียมความ
พร้อม ทั้งในด้านการพูดจาหรือเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
ของตนเองอยู่แล้ว นอกจากนี้ยังพิจารณาได้ว่า
การจ้างพิธีกรในงานดังกล่าวไม่มีความจำเป็นที่
จะต้องจ้างพิธีกรมืออาชีพ เพราะเทศบาลมีบุคลากร
ที่มีหน้าที่ด้านนี้โดยตรง และมีประสิทธิภาพศักยภาพ
ควรที่จะใช้บุคลากรของตนเอง เพื่อถือเป็นการ
ประสานสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนกับเทศบาล ให้มี
ความใกล้ชิดมากขึ้น
       ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงหา
ผู้รับผิดชอบ กรณีการไม่ปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือ
สั่งการ หรือการเบิกจ่ายโดยไม่มีระเบียบกำหนดให้
เบิกจ่าย ทำ ให้ราชการต้องจ่ายเงินดังกล่าว
หากพบว่าเป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือ
สั่งการ ให้นำเงินส่งคืนคลัง กรณีไม่เห็นด้วยให้ทำ
หนังสือหารือกระทรวงมหาดไทยเพื่อหาข้อยุติต่อไป
 
3. เบิกจ่ายเงินค่าของชำรวยในงานประเพณี
ลอยกระทง
เทศบาลชี้แจงว่า การจัดซื้อของชำร่วย
ตามโครงการจัดงานประเพณีลอยกระทง อาศัย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของ
หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ..2543
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) ..2545 และเป็น
 
โครงการจัดงานประเพณีลอยกระทงประจำปี
ของ อปท. เป็นการส่งเสริมบำรุงรักษาจารีตประเพณี
ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น อันเป็น
การจัดการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของ
ประชาชนในท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่ของ อปท.
ตามที่กฎหมายกำหนด ส่วนการเบิกจ่ายเงินค่าของ
ชำร่วย มิใช่จารีตประเพณีท้องถิ่นและสาระสำคัญ
 
ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
งานประเพณีท้องถิ่นมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชน
มีส่วนร่วมในการส่งเสริมบำรุงวัฒนธรรมอันดี
ของท้องถิ่นอยู่ในอำนาจของเทศบาล
 
ของการจัดงาน แต่เป็นค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น
และไม่เป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน
ในพื้นที่อย่างแท้จริง
เป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท 0313.4/ 1347 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2541
เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กำหนดให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ทั้งใน
กรณีที่ดำเนินการเองหรืออุดหนุนหน่วยงานอื่น
โดยให้เบิกได้ตามงบประมาณที่ตั้งไว้และเบิกจ่ายได้
เท่าที่จำเป็นและประหยัด โดยคำนึงถึงฐานะการคลัง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสำคัญ
ให้เรียกเงินจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบส่งคืนคลัง
และสั่งกำชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำโครงการ
หรือกิจกรรมที่ตอบสนองกับความต้องการและ
การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
อย่างแท้จริง และผู้มีอำนาจอนุมัติต้องกำกับดูแล
ตรวจสอบโครงการหรือกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
อำนาจหน้าที่ของ อปท.และระเบียบการเบิกจ่ายเงิน
ในเรื่องดังกล่าวโดยเคร่งครัด เพื่อป้องกันมิให้เกิด
กรณีเช่นนี้อีก
4. การเบิกจ่ายเงินโครงการจัดงานประเพณี
ลอยกระทง ดังนี้
- จ้างเหมาวงดนตรีลูกทุ่งจ่านักร้อง
- จ้างเหมาวงดนตรีลูกทุ่ง MBG มีเดีย กรุ๊ป
- จ้างเหมาจัดหานักแสดง
เทศบาลชี้แจงว่าโครงการดังกล่าวมี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมฟื้นฟูและอนุรักษ์ไว้ซึ่ง
ขนบธรรมเนียมประเพณี เพื่อให้ข้าราชการ
นักเรียน นักศึกษา ตลอกจนพ่อค้าประชาชน
ทั่วไปได้เข้าร่วมประเพณีสงกรานต์ เสริมสร้าง
ความสามัคคีในหมู่ประชาชน ก่อให้เกิดความ
เข้มแข็งในชุมชน และส่งเสริมการท่องเที่ยว
เป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวง
 
มหาดไทย ที่ มท 0313.4/ 1347 เรื่อง ค่าใช้จ่ายใน
การจัดงานต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ซึ่งกำหนดให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่างๆ ได้
เท่าที่จำเป็นและประหยัด โดยคำนึงถึงฐานะการคลัง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสำคัญ ประกอบ
กับหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/
3722 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายใน
การจัดงานต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขอให้เรียกเงินคืนจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
ส่งคืนคลังเทศบาลโดยเร็ว
ขอให้สั่งกำชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ให้ปฏิบัติ
ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวโดยเคร่งครัด
และในโอกาสต่อไปการดำ เนินการโครงการใน
ลักษณะดังกล่าวควรคำนึงถึงฐานะการคลังของ
เทศบาลเป็นสำคัญ
 

 

 

ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
5. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานประเพณีลอย
กระทงแห่โคมยี่เป็ง ในจำนวนนี้มีค่าจ้างเหมา
ดนตรี เครื่องขยายเสียง อุปกรณ์พร้อมติดตั้ง
และค่าจ้างเหมาการแสดงแสงสีเสียง ซึ่งเป็น
ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น
เทศบาลฯชี้แจงว่า การเบิกจ่ายได้ปฏิบัติตาม
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.4/
เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่างๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งการจัดงานดังกล่าวเป็น
การส่งเสริมให้ประชาชน เยาวชนในพื้นที่ได้มี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม และ
เป็นการกระตุ้นการท่องเที่ยว
สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดฯ เห็นว่า
การจ้างเหมา นักร้อง และหางเครื่อง และการจ้าง
เหมาการแสดงแสงสีเสียงในการจัดงานประเพณีลอย
กระทงยี่เป็ง เป็นการจัดหาเพื่อให้งานเกิดความ
สนุกสนาน ความบันเทิง ซึ่งค่าใช้จ่ายดังกล่าวไม่ใช่
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบำรุงศิลปะ จารีต ประเพณี
และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น แต่เป็นค่าใช้จ่าย
ฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น ไม่ใช่กิจกรรมโดยตรงใน
การจัดงานประเพณีลอยกระทงแห่โคมยี่เป็ง
ให้หาผู้รับผิดชอบนำ เงินส่งคืนคลังเทศบาล
โดยเร็ว
 
6. เบิกจ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายที่นอกเหนือจาก
ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นและเหมาะสม ในการจัดงาน
ตามโครงการสืบสานงานลอยกระทงและแข่งขัน
เรือยาวประเพณี ปี 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ประชาชนตระหนักถึงวัฒนธรรมอันดีที่ควร
สืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรม ได้เบิกจ่ายเงิน
เป็นค่าจ้างเหมาประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
สำหรับเลี้ยงผู้เข้าร่วมงาน
 
เมื่อพิจารณาตามวัตถุประสงค์หลักของโครงการ
แต่ละโครงการแล้วเห็นว่า ถึงแม้ไม่มีการดำเนิน
กิจกรรมตามรายการดังกล่าว อบต.ก็สามารถ
ดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้โดย
ไม่ต้องใช้จ่ายงบประมาณ จึงเป็นการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณที่เกินความจำเป็นในการจัดงานและ
ไม่เป็นการประหยัด ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท. 0313.4/ 1347 เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการ
จัดงานต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขอให้ผู้บริหาร อบต. ซึ่งเป็นผู้อนุมัติโครงการ
และอนุมัติการเบิกจ่ายเงินพิจารณา ทบทวน และ
ระมัดระวังการใช้จ่ายเงินงบประมาณในลักษณะ
ดังกล่าว โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดที่ประชาชนโดย
ส่วนรวมพึงได้รับ ใช้จ่ายงบประมาณโดยเน้นภารกิจ
หลักในการจัดระบบบริการสาธารณะสนับสนุนการ
แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน และปรับปรุงคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน และในคราวต่อไปต้องไม่
พิจารณาตั้งงบประมาณในลักษณะดังกล่าวอีก
7. เทศบาลจัดโครงการจัดงานประเพณี
ลอยกระทง มีการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายที่ไม่มี
ระเบียบหรือหนังสือสั่งการให้เบิกจ่ายได้ และ
เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานประเพณี เป็น
การใช้เงินงบประมาณที่เกินความจำเป็น ได้แก่
จ้างเหมาศิลปินวงแท็กซี่ และวงแบน จ้างเหมา
 
เวทีการแสดงพร้อมระบบแสงสีเสียง จ้างเหมา
เป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง
มหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน
การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2547 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 67 ที่กำหนดว่า องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะ
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการที่
 
ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
รำ วงย้อนยุค จ้างวงดนตรีลูกทุ่งแสดงสด
จ้างเหมาพลุและดอกไม้ไฟ จ้างเหมาจัดทำขบวน
แห่กระทง 3 ชุมชน ค่าอาหาร 2 วัน และ
ค่าเครื่องดื่มและรายการวัสดุ 11 รายการ
 
กระทรวงมหาดไทยกำหนดไว้หนังสือกระทรวง
มหาดไทย ที่ มท 0808.2/ 3475 ลงวันที่ 11
ตุลาคม 2550 เรื่อง ขอให้ทบทวนและกำ หนด
มาตรการป้องปรามกรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใช้เงินงบประมาณของทางราชการจัดซื้อสิ่งของแจก
ให้ราษฎรโดยใส่ชื่อของตนลงบนสิ่งของ ข้อ 4
ที่กำหนดว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้
ความสำ คัญในการจัดทำ โครงการที่ใช้จ่าย
งบประมาณในลักษณะที่ตอบสนองความต้องการ
และแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างจริงจัง
ไม่สมควรตั้งงบประมาณในลักษณะฟุ่มเฟือยเกิน
ความจำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ และหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ 3722 ลงวันที่
10 สิงหาคม 2555 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับ
ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
จากการตรวจสอบพบว่า มีการเบิกจ่ายเป็น
ค่าจ้างเหมาจัดการแสดงของศิลปินนักร้องกบ
วงแท็กซี่และวงแบน ซึ่งการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
มหรสพ ดนตรี นักร้อง นักแสดง เป็นการสิ้นเปลือง
ฟุ่มเฟือยและไม่ประหยัดงบประมาณ เป็นค่าใช้จ่ายที่
ไม่มีระเบียบหรือหนังสือสั่งการให้เบิกจ่ายได้ และ
ไม่เกี่ยวข้องกับงานประเพณีตามวัฒนธรรม
ไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติเทศบาล มาตรา 50 (8)
บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น วัตถุประสงค์เพื่อสืบสาน
วัฒนธรรมประเพณี และขอขมาแต่แม่คงคา อีกทั้ง
ไม่จำเป็นที่จะต้องจัดงาน 2 วัน เพราะวันลอยกระทง
ตามวัตถุประสงค์มีเพียงวันเดียว ควรเป็นโครงการ
ที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประเพณีของประชาชน
หากไม่ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าว จะทำให้โครงการ
ไม่บรรลุวัตถุประสงค์
การจ้างเหมาชุมชนทำขบวนแห่กระทง 3 ชุมชน
ซึ่งตามวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อส่งเสริมงาน
ฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ มีการประกวดกระทง
แข่งกัน ในการดำ เนินการประกวดกระทงและ
นางนพมาศ มีเงินรางวัล ของขวัญ และโล่เกียรติยศ

 

 

ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8. การส่งใช้เงินยืมค่าใช้จ่ายตามโครงการวัน
ลอยกระทงเทศบาล ในจำ นวนนี้มีการเบิก
ค่าใช้จ่ายในการดำ เนินการตามโครงการ
ดังต่อไปนี้
(1) เงินสนับสนุนชุมชนจัดทำรถบุพชาติ
(กระทง) จำนวน 6 คัน
(2) เงินค่าสนับสนุนค่าแต่งหน้า-แต่งตัว
หนูน้อยนพมาศ จำนวน 36 คน
(3) ค่าจ้างเหมาการแสดงดนตรี พร้อม
กิจกรรมบนเวทีของนักแสดง เพื่อแสดงในงาน
ตามโครงการวันลอยกระทง
(4) ค่าจ้างเหมาจัดทำสปอร์ตโฆษณา
เพื่อประชาสัมพันธ์งานประเพณีลอยกระทง
เทศบาลกำหนดวัตถุประสงค์ในการจัดทำ
โครงการ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ส่งเสริมและสืบ
สานวัฒนธรรมประเพณีให้คงอยู่สืบไป เพื่อเป็น
การฟื้นฟู ส่งเสริมการแต่งกายแบบไทยและการ
ประดิษฐ์กระทงอันเป็นวัฒนธรรมของไทย เพื่อ
เป็นศูนย์กลางให้หน่วยงานต่างๆ และประชาชน
ได้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นการส่งเสริมความสามัคคี
 
สำหรับผู้ได้รับรางวัล ดังนั้น ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจึงไม่มี
ระเบียบใดให้เบิกจ่าย
เบิกค่าอาหารและเครื่องดื่มสำหรับเจ้าหน้าที่และ
ผู้เข้าร่วมงานทั้ง 2 วัน เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่มีระเบียบ
ใดกำหนดให้เบิกจ่ายได้ และไม่มีหลักฐานลายมือชื่อ
เพื่อนำมาใช้เป็นหลักฐานการเบิกจ่ายแต่อย่างใด
ขอให้แต่งตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงกรณี
ผู้บริหารของเทศบาลอนุมัติโครงการ และผู้จัดทำ
โครงการตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องกับประเพณี
วัฒนธรรม ฟุ่มเฟือยไม่ประหยัด ทำให้ทางราชการ
เสียหาย โดยให้ลงโทษทางวินัยกับผู้บริหารเทศบาล
และเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง และเรียกเงินกับ
ผู้รับ ผิด ช อ บ นำ ส่ง คืน ค ลัง เ ท ศ บ า ล ต า ม
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
..2539 ต่อไป
      การส่งเสริมให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
ตลอดจนประชาชนทั่วไปได้มีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรมวันลอยกระทง ควรใช้วิธีขอความร่วมมือ
จากหน่วยงานต่างๆ ให้ร่วมกันสนับสนุน อนุรักษ์
ส่งเสริม และสืบทอดงานประเพณีอันดีงานของไทย
ให้คงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วม
โครงการเห็นความสำ คัญและรักษาไว้ซึ่งศิลปะ
ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ไม่ควรใช้วิธี
ให้เงินสนับสนุนนอกจากจะไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่
ของเทศบาลที่จะกระทำ ได้แล้ว ยังเป็นการใช้
ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ฟุ่ม เ ฟือ ย เ กิน ค ว า ม จำ เ ป็น
ไม่ระเบียบหรือหนังสือสั่งการให้เบิกจ่ายได้ เป็นการ
ปฏิบัติไม่เป็นไปตามระเบียบกระทรวง มหาดไทย
ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน และ
การตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
..2547 ข้อ 67
ขอให้เรียกเงินค่าใช้จ่ายตามโครงการวันลอย
กระทง จากผู้ต้องรับผิดชอบนำส่งคืนคลังเทศบาล
และกำ ชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบให้ปฏิบัติตาม
ระเบียบและหนังสือสั่งการของกระทรวง มหาดไทย
ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ไม่ให้ใช้งบประมาณใน
ลักษณะที่ฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น และให้ปฏิบัติ

 

 

ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
 
 
 
 
9. เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงานประเพณี
โ ค ร ง ก า ร จัด ง า น ป ร ะ เ พ ณีล อ ย ก ร ะ ท ง
เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรื่นเริง การแสดงรำวง
ย้อนยุค
 
ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/
3722 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ในการจัดงานต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อย่างเคร่งครัด
     ซึ่งผู้เป็นเจ้าของรำวงย้อนยุคสามารถหารายได้
เกี่ยวกับการรื่นเริงดังกล่าวโดยไม่จำเป็นต้องจ้างมา
แสดง และไม่ใช่รายจ่ายอื่นที่จำเป็นสำหรับการจัด
งานประเพณีลอยกระทง และไม่ใช้การจ่ายเพื่อ
อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นการทั่วไป
ดังนั้นจึงไม่สามารถเบิกจ่ายจากเงินงบประมาณ
ได้ เป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท 0313.4/ 1347 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม
2551 เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่างๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จำเป็นและ
ประหยัด โดยคำนึงถึงฐานะการคลังขององค์การ
บริหารส่วนตำบล
 
10. เบิกจ่ายเงิน โครงการอนุรักษ์สืบสาน
ประเพณีลองกระทง ประจำปี 2555 จากการ
ตรวจสอบพบว่า ค่าใช้สอย เพื่อเป็นค่าตกแต่งรถ
ขบวนแห่กระทงให้กับชุมชนต่างๆ จำ นวน
10 ชุมชน
 
โดยการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานประเพณี
ลอยกระทงดังกล่าวเป็นการออกค่าใช้จ่ายให้กับ
ชุมชนซึ่งมิใช่หน่วยงานตามโครงการขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น จึงไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ
เ ท ศ บ า ล จึง เ ป็น ก า ร ไ ม่ป ฏิบัติต า ม ห นัง สือ
กระทรวงมหาดไทยที่ มท 0313.4/ 1347
ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2541 เรื่อง ค่าใช่จ่ายในการ
จัดงานต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สรุปว่า
ในการเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่างๆ ทั้งในกรณีที่
ดำเนินการเองหรืออุดหนุนหน่วยงานอื่นให้เบิกได้
ตามงบประมาณที่ตั้งไว้และเบิกจ่ายได้เท่าที่จำเป็น
และประหยัดประกอบแนวทางตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/12583 ลงวันที่
16 พฤศจิกายน 2553 เรื่อง ขอหารือการเบิก
จ่ายเงินสนับสนุนในโครงการประเพณีลอยกระทง
ประจำปี 2551
กรณีดังกล่าวหากไม่ชัดเจนในทางปฏิบัติให้
เทศบาลทำหนังสือหารือไปยังกระทรวงมหาดไทย
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป เพราะหากเกิด
ข้อบกพร่องและเป็นเหตุให้เทศบาลได้รับความ
เสียหาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหรือผู้เกี่ยวข้องต้อง
 
ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
ข้อเสนอแนะ
 
รับผิดตามกฎหมายและตามระเบียบคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยงบประมาณและการคลัง
.. 2544
11. การเบิกค่าใช้จ่ายตามโครงการจัดงาน
ประเพณีลอยกระทง โดยมีการเบิกค่าใช้จ่าย
ในการดำเนินการดังนี้
- เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาทำพลุการแสดง
- เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาการแสดงคณะตลก
- ส่งใช้เงินยืมเป็นค่าสนับสนุนโครงการจัด
งานประเพณีลอยกระทง ในจำนวนนี้มีการเบิก
ค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าสนับสนุนหมู่บ้านและหน่วยงานที่
นำรถยนต์พร้อมตกแต่งเข้ารวมขบวนแห่ จำนวน
13 คัน
2. ค่าสนับสนุนการเช่าชุดแต่งกายพร้อม
แต่งหน้าสำหรับโรงเรียนที่ส่งผู้เข้าร่วมหรือโคม
ประทีปเข้าร่วมขบวน
3. ค่าสนับสนุนการเช่าชุดแต่งกายพร้อม
แต่งหน้านางนพมาศ
4. ค่าสนับสนุนการแต่งกายของโรงเรียน
และกลุ่มมวลชนที่เข้าร่วมการแสดงบนเวที
6 หน่วย
 
การส่งเสริมให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
ตลอดจนประชาชนทั่วไปได้มีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรมวันลอยกระทง ควรใช้วิธีขอความร่วมมือ
จากหน่วยงานต่างๆ ให้ร่วมกันสนับสนุน อนุรักษ์
ส่งเสริม และสืบทอดงานประเพณีอันดีงามของไทย
ให้คงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ไม่ควรใช้วิธีให้เงินสนับสนุน
นอกจากจะไม่อยู่ในอำ นาจหน้าที่ของเทศบาล
ที่จะกระทำแล้วยังเป็นการใช้งบประมาณที่ฟุ่มเฟือย
เกินความจำเป็น
การให้เงินสนับสนุนโรงเรียนซึ่งเป็นหน่วยงาน
ของรัฐและเอกชน ซึ่งมีงบประมาณของตนเอง และ
ไม่ใช่โรงเรียนในสังกัดเทศบาล จึงไม่อยู่ในอำนาจ
หน้าที่ของเทศบาลที่จะกระทำได้
การจ้างเหมาการแสดงตลก การจ้างเหมาทำพลุ
แสดง เป็นการใช้งบประมาณจำนวนมาก และไม่ได้
ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญและ
รัก ษ าไว้ซึ่ง ศิลปะ ประเพณีแ ล ะ วัฒนธรรม
อันดีของท้องถิ่น เป็นการปฏิบัติไม่เป็นไปตาม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การ
จ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ
ตรวจเงินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2547 ข้อ
67 และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย ด่วน
มาก ที่ มท 0808.2/ 2072 ลงวันที่ 14 มิถุนายน
2554 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทำงบประมาณ
รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.. 2555 ขององค์
ปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 4
ขอให้เรียกเงินใช้จ่ายตามโครงการจัดงาน
ประเพณีลอยกระทง จากผู้ต้องรับผิดชอบนำส่งคืน
คลังเทศบาล และกำชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบให้
ปฏิบัติตามระเบียบและหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ไม่ให้ใช้งบประมาณ
ในลักษณะที่ฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น และให้ปฏิบัติ
ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/
3722 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555 เรื่อง ซักซ้อม
ความเข้าใจเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการจัดการต่างๆของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเคร่งครัด