การทำงานในระบบราชการที่เปลี่ยนแปลงไป
· มียุทธศาสตร์ (Strategy) ของประเทศ กระทรวง และหน่วยงาน
· มีการทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ( PSA. : Public Service Agreement)
· มีการกำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานขององค์การ (KPIs. : KeyPerformancePerformanceIndicators)ตามหลักการวัดผลการดำเนินการแบบสมดุล(BSC. : Balanced Scorecard)
· มีการประเมินการทำงานด้วยตนเอง ( SAR. : Self Assessment Report) และการตรวจสอบด้วยหน่วยงานประเมินภายนอก ( Third Party Assessment)
· มีการวางแผนบริหารการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) และแต่งตั้งผู้นำการเปลี่ยนแปลง (CCO. : Chief Change Officer)
· เน้นการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (LO. : Learning Organization) และการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ (KM. : Knowledge Management)
· เน้นคุณค่าของทรัพย์สินที่มองไม่เห็น ( Intangible Assets) เช่น การมุ่งพัฒนาสมรรถนะ ( Competency) การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า (Customer) การใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการปรับปรุงกระบวนงานต่างๆ
· มีสิ่งจูงใจ ( Rewards & Incentives)
· การนำแนวคิดการบริหารที่ประสบความสำเร็จในภาคเอกชน มาปรับใช้กับระบบราชการ เช่น
1. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การควบคุมภายใน
2. การจัดทำต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
3. การพัฒนาสมรรถนะระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) ดู 5 เรื่อง
· ประเมินคนทำงานด้าน HR.
· ประเมินความคุ้มค่าด้าน HR
· ประเมินความสอดคล้องของยุทธศาสตร์
· ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
· ประเมินประสิทธิผลการทำงาน
4. การกำหนดเป้าหมายการทำงานส่วนบุคคล (IPA : Internal Performance Agreement)
- เป็นการประเมิน KPI ส่วนบุคคล
· การนำแนวคิดด้านการพัฒนาคุณภาพการจัดการ เช่น
1. MBNQA (Malcolm BaldridgeBaldridgeNational Quality Award) เป็นหน่วยงานที่มีคุณภาพเป็นเลิศของอเมริกา
2. National หรือ TQA (Thailand Quality Award) เป็นหน่วยงานที่มีคุณภาพเป็นเลิศ มาปรับใช้ในราชการ เป็น
3. PMQA (Public Sector Management Quality Award)
· เน้นการมีส่วนร่วม และการตรวจสอบจากประชาชนมากขึ้น (Participatory Governance)
แผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบราชการฉบับใหม่ พ.ศ.2551-2555)
· ทันต่อการเปลี่ยนแปลง >>>>การพัฒนาคุณภาพบริการ
· มีส่วนร่วม >>>>การบูรณาการและการมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภายใน ภายนอก ให้เป็นเนื้อเดียวกัน
· เก่ง >>>>ปรับปรุงสมรรถนะ
· ดี >>>>จริยธรรมและธรรมาภิบาล
ความหมายของการวางแผนกลยุทธ์
· การวางแผน :: การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน คาดการณ์ไปล่วงหน้า และกำหนดแนวทางที่คาดว่าน่าจะดีที่สุด เพื่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างได้ผล
· กลยุทธ์ :: ไม่ใช้วิธีการธรรมดา มีการใช้ความคิดเป็นพิเศษ เพื่อกลั่นเอาแนวทางที่ดีที่สุด และสามารถแปรเปลี่ยนสถานการณ์ทุกประเภท ให้กลับกลายเป็นประโยชน์แก่หน่วยงาน ไม่ว่าขณะนั้นองค์การจะอยู่ในสถานการณ์ใด ไม่ว่าจะเป็นช่วงได้เปรียบ หรือเสียเปรียบก็ตาม
ตัวอย่างการกำหนดยุทธศาสตร์ของประเทศ
· Transportation HubTransportation Hub
· Detroit of AsiaDetroit Asia
· Kitchen of the WorldKitchen World
· City of FashionCity Fashion
· Medical HubMedical Hub
· Educational HubEducational Hub
· OTOPOTOP
· บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม // อยู่ดี มีสุข
· เศรษฐกิจพอเพียง
ทำไมต้องมีการบริหารเชิงกลยุทธ์
· การมีกลยุทธ์ ทำให้มีจุดมุ่งในการไปสู่เป้าหมายที่ชัดเจน
· การมีกลยุทธ์ เป็นการเลือกวิธีการที่ดีที่สุด ในสถานการณ์ที่เหมาะสม
· การมีกลยุทธ์ ทำให้เกิดความชัดเจนในภารกิจ และบทบาทความเกี่ยวข้องของบุคคลฝ่ายต่างๆ
· การมีกลยุทธ์ ทำให้มีแนวทางที่ชัดเจนในการวัดและประเมินผลสำเร็จ
ขั้นที่ 1-6 ขั้นวางแผน SWOT Analysis เป็นขั้นตอนที่มีปัญหามากที่สุด เนื่องจากไม่เข้าใจอย่างแท้จริง ของหลักการวิเคราะห์
ขั้นที่ 7 ขั้นปฏิบัติ เปลี่ยนกลยุทธ์เป็นแผนงานโครงการ กิจกรรม
ขั้นที่ 8 ประเมินผล คือวิธีการวัดว่าสิ่งที่ทำนั้นประสบผลสำเร็จอย่างไร มีตังชี้วัด เครื่องมือประเมินผล
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนกลยุทธ
· Scenario Planning
· SWOT Analysis
· TOWS Matrix
· Balanced Scorecard
· KPIs. (Key Performance Indicators). Indicators)
Best Case Possibility Case Worst Case
ปัจจุบัน
ความหมาย Vision
· A Picture of the FuturePicture Future ภาพองค์การในอนาคต
· A broad comprehensive picture of what a leader wants an organization to become ภาพกว้างๆซึ่งผู้นำในหน่วยงานปรารถนาให้องค์การไปสู่
· Concept for a new and desirable future reality that can be communicated through out the organization แนวคิดหรือมุมมองใหม่เกี่ยวกับสถานภาพองค์การที่พึงปรารถนาในอนาคตซึ่งสามารถสื่อสารให้เกิดความเข้าใจทั่วทั้ง องค์การ
Strategy Cascading
วิสัยทัศน์เป็นองค์กรหลักในการบริหารงานเชิงรุก พัฒนาแรงงานให้มีงานทำ มีศักยภาพสามารถสนับสนุนขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีหลักประกันความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การขยายโอกาสการมีงานทำทั้งในและนอกระบบ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การเพิ่มศักยภาพแรงงานให้ได้มาตรฐานสากล
ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 การขยายการคุ้มครองแรงงานให้ได้หลักประกันอย่างทั่วถึง
ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 การพัฒนาศักยภาพองค์กรให้เป็นองค์กรชั้นนำ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 5 การพัฒนาระบบการจัดการแรงงานของผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางการค้า
|
เป้าประสงค์ 1 แรงงานทั้งในและนอกระบบสามารถ เข้าถึงแหล่งข้อมูล แหล่งงานเพื่อเพิ่ม โอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพ
เป้าประสงค์ 2 แรงงาน และผู้ประกอบการ มีความรู้ ทักษะ และฝีมือตามมาตรฐานสากล
เป้าประสงค์ 3 แรงงานทั้งในระบบและนอกระบบได้รับการคุ้มครองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงาน และมีหลักประกันความมั่นคงในการดำรงชีวิต
เป้าประสงค์ 4 กระทรวงแรงงานมีระบบการบริหาร จัดการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับของสังคม
เป้าประสงค์ 5 ผู้ประกอบการมีระบบการจัดการแรงงานที่ดีตามมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันทางการค้ากับนานาประเทศ
|
ความหมาย Mission
· A statement of what the various organizational units do and what they hope to accomplish in alignment with the organization vision
· ข้อความที่กำหนดถึงภารกิจที่องค์การมุ่งหวังจะกระทำให้เกิดผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์ที่องค์การมีอยู่
Core Values
· the essential and enduring tenets of an organization - the very small set of guiding principles that have a profound impact on how everyon everyone in the organization thinks and acts
· ค่านิยมหรือความเชื่อที่สำคัญของคนในองค์การ เป็นหลักการสำคัญที่เป็นตัวชี้นำและมีผลกระทบต่อวิธีการคิดและวิธีการปฏิบัติของทุกคนในองค์การ
ตัวอย่าง Core Values ขององค์กรชั้นนำ
· DisneyDisney : Imagination and Wholesomeness
จินตนาการและมุ่งเน้นประโยชน์
· Sony : Creativity and InnovationSony Innovation
· Nordstrom : Service to the customerNordstrom customer
· Proctor & Gamble : Product excellenceProctor excellence
· กองทัพอากาศสหรัฐ : Integrity First
Service Before Self
Excellence in All We DoExcellence Do
SWOT Analysis
เป็นเทคนิคการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ( External Scanning) และภายในองค์การ ( Internal Scanning)เพื่อให้รู้ถึงสถานะที่เป็นจริง และสามารถกำหนดกลยุทธ์ในการตอบโต้ได้อย่างเหมาะสม และเป็นเทคนิคพื้นฐานขั้นต้นของการวางแผนกลยุทธ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น