Capitalism
ทุนนิยม กลไกตลาดเปิดการแข่งขัยเสรี ใครที่สามารถผลิตสินค้าได้มีประสิทธิภาพ หมายถึง คนที่ใช้ต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่า โดยผลิตสินค้าลักษณะเดียวกันเหมือนกัน (Capitalism: Adam Smith 1776 )
มือที่มองไม่เห็น
มือใครยาวสาวได้สาวเอา
มองความแตกต่างของบุคคล ทำให้เกิดความแตกแยก และเกิดการต่อสู้ทางชนชั้น
คนรวยดูถูกคนจน คนจนเกียดคนรวย
หรือเรียกระบบนี้ว่าทุนนิยมสามาร
Communism: Carl Marx
2.ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ( communism ) ระบบเศรษฐกิจนี้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทั้งทรัพยากรต่างๆและปัจจัยการผลิตทุกชนิด เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ในการเลือกใช้ปัจจัยการผลิตได้ กลไกราคาไม่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การตัดสินใจมักจะทำอยู่ในรูปของการวางแผนแบบบังคับ จากส่วนกลาง (central planning) โดยคำนึงถึงสวัสดิการของสังคมเป็นสำคัญ
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคลในสังคม
2.ภายใต้ระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทำการผลิตและปริโภคตามคำสั่งของรัฐ
ข้อเสียระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
1.ประชาชนไม่มีเสรีภาพในการผลิตหรือบริโภคอะไรได้ตามใจ
2.สินค้ามีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควรเนื่องจากผู้ผลิตขาดแรงทุนทรัพย์ในการผลิต
3.การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคลในสังคม
2.ภายใต้ระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทำการผลิตและปริโภคตามคำสั่งของรัฐ
ข้อเสียระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
1.ประชาชนไม่มีเสรีภาพในการผลิตหรือบริโภคอะไรได้ตามใจ
2.สินค้ามีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควรเนื่องจากผู้ผลิตขาดแรงทุนทรัพย์ในการผลิต
3.การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
4. คนขยันกับคนขี้เกียจ จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนเท่าเทียมกัน
ระบบสังคมนิยม Socialism: Welfare state
เก็บภาษีแพง ในการสร้างนโยบายประชานิยม
รัฐดูแลสวัสดิการ
เน้นประโยชน์สุขของประชาชน
เช่น usa Japan
Scientific Management: Frederick W. Taylor, Frank & Lillian Gilbreth and Henry Gantt การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ เทย์เลอร์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ ปรัชญาการบริหารของเทย์เลอร์
หลักการจัดการตามแนวความคิดของ Taylor เป็นการจัดการเพื่อผลผลิตเขาเชื่อว่าองค์การขาดประสิทธิภาพนั้นสาเหตุมาจากวิธีการจัดการ ดังนั้นองค์การที่มีประสิทธิภาพสูงสุดนั้นจะต้องขึ้นอยู่กับสิ่งสำคัญ 3 อย่างคือ
1.การเลือกคนงานที่มีความสามารถสูงสุด (Selection)
1.การเลือกคนงานที่มีความสามารถสูงสุด (Selection)
2.การฝึกอบรมให้คนงานทำงานอย่างถูกวิธี (Training)
3.การหาสิ่งจูงใจให้เขาเกิดกำลังใจในการทำงาน (Motivation)
หลักของเทลเลอร์เพื่อ
หลักของเทลเลอร์เพื่อ
1.แสวงหาวิธีทำงานที่ดีที่สุด
2.สรรหาคน และ แบ่งงาน ทำงานตามความชำนาญ
3.เงินเป็นแรงจูงใจ
2.สรรหาคน และ แบ่งงาน ทำงานตามความชำนาญ
3.เงินเป็นแรงจูงใจ
คนไทยจะต้องเอาหลักวิทยาศาสตร์เชิงพุทธศาสตร์
Administrative Management: Henry Fayol and Chester I. Barnard
การจัดองค์การแบบหลักการบริหาร (Administrative Management) มีแนวคิดว่าองค์การจะต้องวางหลักเกณฑ์ในการบริหาร เพื่อคอยบังคับบัญชาผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ ให้ปฏิบัติงานตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่วางไว้
1.หลักการบริหาร POCCC ของ Henri Fayol วิศวกรชาวฝรั่งเศส เป็นเจ้าของแนวความคิดของการบริหารงานตามหน้าที่ โดยกระบวนการจัดการ 5 อย่าง หรือ POCCC องค์ประกอบสำคัญในการบริหาร “POCCC”
P = Planning การวางแผน คือ การพยากรณ์ถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นเพื่อการตัดสินใจในอนาคต
O = Organizing การจัดการองค์กร คือ กำหนดโครงสร้างหน่วยงาน และระหน้าที่ผสมผสานระหว่างคน วัตถุ และเงิน
C = Commanding การบังคับบัญชา คือ มีการติดต่อสื่อสาร 2 ทาง แสดงความคิดเห็นได้
C = Coordinating การประสานงาน คือ การติดต่อสื่อสารระหว่างกันเพื่อทำให้งานสำเร็จ
C = Controlling การควบคุม คือ การติดตามการดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.หลักการบริหาร POCCC ของ Henri Fayol วิศวกรชาวฝรั่งเศส เป็นเจ้าของแนวความคิดของการบริหารงานตามหน้าที่ โดยกระบวนการจัดการ 5 อย่าง หรือ POCCC องค์ประกอบสำคัญในการบริหาร “POCCC”
P = Planning การวางแผน คือ การพยากรณ์ถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นเพื่อการตัดสินใจในอนาคต
O = Organizing การจัดการองค์กร คือ กำหนดโครงสร้างหน่วยงาน และระหน้าที่ผสมผสานระหว่างคน วัตถุ และเงิน
C = Commanding การบังคับบัญชา คือ มีการติดต่อสื่อสาร 2 ทาง แสดงความคิดเห็นได้
C = Coordinating การประสานงาน คือ การติดต่อสื่อสารระหว่างกันเพื่อทำให้งานสำเร็จ
C = Controlling การควบคุม คือ การติดตามการดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
Henri Fayol คิดหลักการบริหารทั่วไป 14 ข้อ คือ
1.หลักอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ซึ่งต้องอยู่คู่กันในลักษณะที่เหมาะสม และสมดุลกัน
2.หลักของการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว เพื่อไม่ให้สับสนในการตัดสินใจ ( ผู้บังคับบัญชายึดพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุติตา อุเบกขา ผู้ใต้บังคับบัญชายึดหลัก ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา)
3.หลักของการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีนโยบายที่ชัดเจน
4.หลักการธำรงไว้ซึ่งสายงาน มีการกำหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน จากระดับสูงไปหาต่ำ
5.หลักของการแบ่งงานกันทำ
6.หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย
7.หลักของการถือประโยชน์ส่วนบุคคล
8.หลักของการให้ผลประโยชน์ตอบแทน
9.หลักของการรวมอำนาจไว้ส่วนกลาง ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการกระจายอำนาจด้วยบางส่วน
10.หลักของความมีระเบียบแบบแผน
11.หลักของความเสมอภาค
12.หลักของความมีเสถียรภาพของการว่าจ้าง
13.หลักของความคิดริเริ่ม
14.หลักของความสามัคคี
4.หลักการธำรงไว้ซึ่งสายงาน มีการกำหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน จากระดับสูงไปหาต่ำ
5.หลักของการแบ่งงานกันทำ
6.หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย
7.หลักของการถือประโยชน์ส่วนบุคคล
8.หลักของการให้ผลประโยชน์ตอบแทน
9.หลักของการรวมอำนาจไว้ส่วนกลาง ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการกระจายอำนาจด้วยบางส่วน
10.หลักของความมีระเบียบแบบแผน
11.หลักของความเสมอภาค
12.หลักของความมีเสถียรภาพของการว่าจ้าง
13.หลักของความคิดริเริ่ม
14.หลักของความสามัคคี
Bureaucratic Management: Max Weber (ชาวเยอรมัน) การบริหารแบบระบบราชการ
ใช้หลัก
เน้นกฎหมาย
ระเบียบวินัย
ข้อเสีย
เล่นพรรคเล่นพวก
ใช้ระบบอุปภัมภ์
Behaviorists: Hugo Munsterberg, Mary Parker Follett, Elton Mayo, Abraham Maslow Douglas McGregor
พวกพฤติกรรมนิยม มีหลักคือ
ใช้หลักความต้องการพื้นฐาน
QCC: Quality Control Circle
เกิดที่ อเมริกา เจริญเติบโตใน ญี่ปุ่น พัฒนาจนเป็นที่ยอมรับทั่วโลก
ปัจจุบันนิยมใช้มากที่สุด
ทฤษฎี Z, การบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM), การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์ (MBO), การปรับรื้อระบบ (Reengineering)
ปรัชญาของ โสเครติส ในการบริหารภาครัฐ 2 หลักคือ
หลักการพื้นฐาน = ความรู้ คือ คุณธรรมการให้การศึกษาแก่ประชาชนคนที่มีความรู้สมควรเป็นผู้ปกครอง
ผลลัพธ์/นวัตกรรม = ได้ผู้ปกครองที่ดี มีคุณธรรมประชาชนได้รับความเป็นธรรมมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองของรัฐ
(ให้รู้ว่าอะไรผิดถูกคือการสอนเยาวชนของญี่ปุ่น)
หลักการพื้นฐาน
ความชำนาญงานเฉพาะอย่าง
การให้การศึกษาแก่ประชาชน
การออกแบบสิ่งจูงใจที่เหมาะสม : ประโยชน์ส่วนตัวและประโยชน์ส่วนรวม
การออกแบบโครงสร้างทางสังคม
การพัฒนาข้าราชการให้มีคุณธรรม
ผลลัพธ์/นวัตกรรม
ความมั่งคั่ง ความอุดมสมบูรณ์ การพัฒนาของรัฐ
คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
ผู้ปกครองที่มีคุณธรรมสูงสุด คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
การบรรลุความเป็นรัฐที่สมบูรณ์
ปรัชญาของ อริสโตเติล (บิดาของรัฐศาสตร์)ในการบริหารภาครัฐ
หลักการพื้นฐาน
หลักของกฎหมาย (นิติธรรม)
การให้การศึกษาแก่ประชาชนโดยรัฐ
การส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณธรรม
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายใน
การไม่สนับสนุนให้ประชาชนฟุ้งเฟ้อ
การป้องกันมิให้เกิดสงคราม
(ประเทศไทย ฝ่าฝืนทุกข้อข้างต้น)
ผลลัพธ์/นวัตกรรม
สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน
คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
สันติภาพและความสงบสุข
ความเจริญรุ่งเรืองของรัฐ
ปรัชญาของ วูดโร วิลสัน ในการบริหารภาครัฐ
หลักการพื้นฐาน
การแยกการเมืองออกจากการบริหาร
การแต่งตั้งโยกย้ายตามหลัก คุณธรรม
การบริหารงานโดยปราศจากอคติทางค่านิยมเฉกเช่นธุรกิจ
การศึกษาวิจัยเปรียบเทียบระบบการบริหารของประเทศต่างๆ
ผลลัพธ์/นวัตกรรม
การบริหารโดยข้าราชการที่เน้นความเสมอภาค เป็นธรรม และมุ่งต่อผลประโยชน์สาธารณะ
ประโยชน์สูงสุดของราชการ
การปรับปรุงพัฒนาการบริหารภาครัฐและเสริมสร้างนวัตกรรม
ปรัชญาของ เฟรเดอริค เทย์เลอร์ ในการบริหารภาครัฐ
ปรัชญาของ เฟรเดอริค เทย์เลอร์ ในการบริหารภาครัฐ
หลักการพื้นฐาน
ใช้วิธีวิทยาศาสตร์
คัดเลือกคนที่ดีที่สุด
ฝึกคน
การใช้สิ่งจูงใจเป็นตัวเงินในการเพิ่มผลผลิต
การควบคุมอย่างใกล้ชิด
ผลลัพธ์/นวัตกรรม
ประสิทธิภาพขององค์การ
ประหยัด ผลผลิตสูงสุด การใช้ประโยชน์จาก บุคคลในองค์การสูงสุด
หลักการพื้นฐาน
ความเป็นทางการ ยึดหลักนิติธรรม ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
การแย่งเรื่องส่วนตัวออกจากเรื่องของงาน
ผลลัพธ์/นวัตกรรม
สร้างระบบราชการที่มีระเบียบวินัย
ให้ผู้ปฏิบัติงานเป็นมืออาชีพ
องค์การมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ความซื่อสัตย์ในภาวะผู้นำ : จิตวิญญาณขององค์การถูกสร้างขึ้นจากเบื้องบน
1. Integrity in Leadership 2. Identifying the Future 3.Management Is Indispensable 4. Organizational Inertia 5. Abandonment 6. Practice of Abandonment 7. Knowledge Workers: Asset Not Cost Dimension 8. Autonomy in Knowledge 9. The New Corporation’s Continuous Learning 10.Management: The Central Social Function 11. Management and Theology 12. Management as the Alternative to Tyranny 13. Practice Comes First 14.Society of Performing Organizations 19 b The Purpose of Society 20 b Nature of Man and Society 6 b 21 b Profit’s Function 7 b 22 b Economics as a Social 8 b 23 b Private Virtue and the Work Commonweal 9 b 24 b Feedback: Key to Persona 10 b 25 b Reinvent Yourself 26 b A Social Ecologist 11 27 b The Discipline of 12 b Management 13 b Management and the Liberal 28 b Controlled Experiment in Arts Mismanagement 14 b The Managerial Attitude 29 b Performance: The Test of Management 15 b The Spirit of an Organization 30 b Terrorism and Basic Trends 16 b The Function of Manage-31 b A Functioning Society ment Is to Produce Results | 1.Autonomy in Knowledge 2. The New Corporation’s Continuous Learning 3.Management: The Central Social Function 4. Management as the Alternative to Tyranny 5. Practice Comes First 6. Society of Performing Organizations 19 b The Purpose of Society 20 b Nature of Man and Society 6 b 21 b Profit’s Function 7 b 22 b Economics as a Social 8 b 23 b Private Virtue and the Work Commonweal 9 b 24 b Feedback: Key to Persona 10 b 25 b Reinvent Yourself 26 b A Social Ecologist 11 b Management and Theology 27 b The Discipline of 12 b Management 13 b Management and the Liberal 28 b Controlled Experiment in Arts Mismanagement 14 b The Managerial Attitude 29 b Performance: The Test of Management 15 b The Spirit of an Organization 30 b Terrorism and Basic Trends 16 b The Function of Manage-31 b A Functioning Society ment Is to Produce Results |
มาตรา ๘๓ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้
(๑) บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ
(๒) จัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมี
แผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่
ปรัชญาการบริหารภาครัฐของไทยในศตวรรษใหม่:แนวโน้ม ทิศทาง และความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง
1. การกระจายอำนาจทางการบริหาร
2. การแปรสภาพกิจกรรมของรัฐเป็นกิจกรรมเอกชน
3. การนำระบบการประเมินผลแบบเปิดไปใช้ในหน่วยงานของรัฐ
4. การปฏิรูปกฎหมายและระเบียบที่ล้าหลัง
5. การปฏิรูประบบงบประมาณของไทย
6. ปรัชญาการบริหารภาครัฐจะต้องทำลายการผูกขาดของรัฐ
รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย 2550
มาตรา ๗๔ บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง
มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้
(๔) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ
การเปรียบเทียบแนวความคิดเกี่ยวกับการปฏิรูประบบบริหารงานภาครัฐ
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
วัตถุประสงค์
1.การปรับให้เข้า สู่ระบบ การตลาด (marketization)
2.การแข่งขันและประสิทธิภาพ
3.การปรับเปลี่ยนการทำงานให้มีความทันสมัย (managerialization)
4.ผลสัมฤทธิ์ คุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่าเงิน
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค
2.ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ
3. เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ (new institutional economics)
4. ทฤษฎีตัวการและตัวแทน (principal-agency theory)
5. เศรษฐศาสตร์ต้นทุน-ธุรกรรม (transaction-cost economics)
6. การบริหารจัดการสมัยใหม่การบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์)
7. การบริหารเชิงกลยุทธ์
8. การบริหารคุณภาพโดยรวม
กลยุทธ์และเครื่องมือของการปฏิรูป
1.การลดขนาดกำลังคน (reduction in force) และการตัดทอนงบประมาณ (cutbacks)
2.การแปรสภาพหน่วยงาน ราชการให้เป็นรัฐ วิสาหกิจ (corporatization)
3.การแปรสภาพกิจการของรัฐ ให้เป็นของเอกชน (privatization)
4. การทดสอบตลาด (market testing)
5. การคัดค้านเพื่อเปิดให้มี การแข่งขัน (contestability)
6.การจ้างเหมาบริการ (competitiveTendering) (contracting out)
7.การทำให้ถูกต้องตามกฏหมาย (legalization)
8การให้อิสระและความคล่องตัวทางการบริหาร(managerial flexibility waivers)
9.การแยกส่วนหน่วยงาน (decoupling) และการจัดตั้งองค์การบริหารงาน
10.การจัดทำสัญญาข้อตกลงว่าด้วยผลงาน(performance agreements)
11.การเทียบเคียงผลการดำเนินงาน(benchmarking)
12.การวัดผลการดำเนินงาน (performance measurement)
13.มาตราฐานการให้บริการลูกค้าผู้รับบริการ(customer service standards)
14.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
15. การตรวจสอบผลการดำเนินงาน(performance audit)
ประชาธิปไตยในแนวทางใหม่ (New Democracy)
วัตถุประสงค์
ความเป็นประชาธิปไตย (democratization)
หลักนิติธรรม (rule of law) สิทธิและเสรีภาพ ความเสมอภาคและเที่ยงธรรม ความถูกต้องและยุติธรรม การไม่เลือกปฏิบัติ
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
รัฐศาสตร์และกฎหมายมหาชน ชุมชนนิยม (Communitariansim)
ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberative democracy)ประชาธิปไตยทางตรง (direct democracy)
กลยุทธ์และเครื่องมือของการปฏิรูป
การกระจายอำนาจ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ประชาพิจารณ์ (public hearing)ประชาหารือ (public consultation)ประชามติ (referendum)การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของทางราชการ (sunshine law)
มาตรา 3/1
“การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน”
“ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ”
ส่วนราชการ (GO)
รับผิดชอบภารกิจหลัก ภารกิจพื้นฐานของรัฐที่เป็นการควบคุม กำกับดูแล และอนุมัติ อนุญาต ตามกฎหมาย รวมทั้งงานนโยบายต่างๆ
Action of Leading Change
นวัตกรรมทางการบริหารในประเทศไทย ที่มีประสิทธิผล
การปฏิรูประบบราชการในสมัย ร. 5
จตุสดมภ์ ---à กระทรวง
บริหารโดยสายสัมพันธ์ ---à สายบังคับบัญชา
ทำไม? จึงสำเร็จ
ทำไม? ถึงมีประสิทธิผล
ทำไม? ยั่งยืน
บริหารโดยสายสัมพันธ์ ---à สายบังคับบัญชา
ทำไม? จึงสำเร็จ
ทำไม? ถึงมีประสิทธิผล
ทำไม? ยั่งยืน
THANK YOU
For more information
รศ.ดร. ดำรงค์ วัฒนา
ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
โทร. 0-2218-7239
E-mail: wdamrong@hotmail.com
http://pioneer.chula.ac.th/~wdamrong
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น