การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อ.ชลิดา ศรมณี
ตั้งแต่เกิด จน ตาย ทุกเพศทุกวัย
เพื่อพัฒนาทั้ง
Ø ปริมาณ คือ จำนวนและการกระจายของประชากรและกำลังงาน
Ø คุณภาพ คือ ความรู้ ความชำนาญ ความถนัด คุณค่า แรงจูงใจ
“ประชากรที่อาศัยอยู่ในชาติ เป็นส่วนสำคัญต่อการผลิตสินค้าและบริการ
ทุนมนุษย์ Human Capital
เป็นแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ โดยถือว่าการศึกษาเป็นสินค้าที่ใช้บริโภคอย่างหนึ่ง
ผลตอบแทนจากการตัดสินใจลงทุน ในมนุษย์เกิดประโยชน์ 2 ด้าน
1. แต่ละบุคคล (รายได้มากขึ้น)
2. ต่อสังคม social rate of retune
ความหมายของธนาคารโลก
ทักษะและความสามารถต่างๆ ที่อยู่ในตัวบุคคลหรือกำลังงาน ซึ่งส่วนหนึ่งได้มาจาก การปรับปรุงสุขภาพ และโภชนาการ การศึกษาและการฝึกอบรม
Adams Smith The Wealth of nations 1776เขียนบทความเรื่อง การลงทุนในมนุษย์ Investment in Human Capital 1961
แนวคิดเป็นเรื่องความแตกต่างของคุณภาพแรงงาน จากการศึกษาค้นคว้าด้าน การฝึกอบรม เพื่อเพิ่มพูนรายได้ตนเองและให้แก่สังคมด้วย
Theodore W.Schultz ได้รับรางวัลโนเบล ร
ทฤษฎีมนุษย์ Human Capital Theory อธิบายได้ดังนี้
ต้องการ Net benefits จากการลงทุนมากที่สุด
ต้นทุน Costs ได้แก่ ตเนทุนทางตรง อาจรวมต้นทุนทางจิตใจ Psychic cost ของการไม่ชอบเรียน
สรุป การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้คุณภาพต้องพัฒนาด้านต่างๆ ที่สำคัญ คือ
1. สถาบันครอบครัว
2. การศึกษา (ปฏิบัติงานและจิรยธรรม)
3. การฝึกอบรม
4. การดูแลด้านสุขภาพอนามัยและโภชนาการ
5. ดูแลการอพยพย้ายถิ่นฐาน
6. ดูแลด้านการข่าวสารกับตลาดแรงงาน
7. ประสบการณ์ในการทำงาน
8. คุณภาพทรัพยากรมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แผนการศึกษา(ทั้งในระบบและนอกระบบ)
แผนด้านการฝึกอบรมระหว่างปฏิบัติงาน
แผนการให้ข่าวสารด้านแรงงาน
แผนการดูแลด้านการโยกย้ายถิ่นแรงงาน
แผนการดูแลด้านสุขภาพอนามัย
แผนการดูแลด้านสุขภาพโภชนาการ
แผนพัฒนาจิตใจ สังคม และวัฒนธรรม
แผนการเตรียมให้เกิดวุฒิภาวะในการร่วมกระบวนการทางการเมือง
แผนการจัดเตรียมด้านสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคมและวัฒนธรรม
ทางการเมือง
สภาพแวดล้อม
การพัฒนามนุษย์เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ปฏิสนธิ จนตาย เป็นการเจริญเติบโตในเชิงปริมาณและคุณภาพ
ปริมาณ – ประชากรในจำนวนที่เหมาะสม ทั้งเพศ และวัยต่างๆ
คุณภาพ – คือวุฒิภาวะ ด้านต่างๆ ร่างกาย(สุขภาพ) จิตใจ อารมณ์ ความรู้ความสามารถ คุณภาพชีวิต
Country in the world
Developed countries = ประเทศที่พัฒนาแล้ว
Underdeveloped counties, Less – developed countries = ประเทศที่ยังไม่พัฒนา
Developing countries = ประเทศที่กำลังพัฒนาแล้ว
World Bank (IBRD) 1944
ความเจริญทางเศรษฐกิจ การทางภาคอุตสาหกรรม ความเจริญของอารยะธรรม
Sustainable Development การพัฒนาแบบยั่งยืน
ในสังคมไทยได้แบ่งเป็น 3 ด้าน
1. ด้านเศรษฐกิจ Economy
2. นิเวศวิทย์ Ecology
3. มนุษย์ Human
ดัชนีวัดระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Indicator of Human Resource Development
ตัวที่บ่งชี้ว่าสังคมนั้นๆพัฒนาแค่ไหน เพียงใด พิจารณาดังนี้
1. ตัวชี้วัดระดับการพัฒนาการศึกษาโดยตรง
อัตราส่วนผู้สำเร็จการศึกษาระดับต่างๆ
อัตราระหว่างผู้ประกอบอาชีพสูงกับประชากรทั้งหมด
อัตราส่วนอ่านออกเขียนได้
อัตราส่วนระหว่างวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ต่อประชากรทั้งหมด
อัตราส่วนระหว่างจำนวนนักเรียนในระดับประถมกับประชากรทั้งหมดในวัยนั้น
2. ตัวชี้วัดด้านการศึกษาโดยอ้อม
ด้านโภชนาการ Nutrition Index
อัตราส่วนแคลอรี่ต่อหัวต่อวัน
ด้านสุขภาพ เช่น ความยืนยาวของชีวิต ข่าวสารด้านสุขภาพ ป้องกันโรค
3. ตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ
มูลค่า GDP
4. ดัชนีการพัฒนามนุษย์ HDI ของสหประชาชาติ
ความยืนยาวของชีวิต
อัตราการอ่านออกเขียนได้
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
5. ปัจจุบัน ดัชนีชี้วัดด้านความสุข (HPI)
การพัฒนากำลังคน Man power Development มี 2 ระดับ (ระดับชาติ ระดับองค์กร) มี 2 วิธีคือ
1. การพัฒนากำลังคน
2. การวางแผนกำลังคน
การวางแผนด้านกำลังคน จะเกี่ยวข้องกับ
อุปสงค์ Demand ความต้องการกำลังคน
อุปทาน Supply การตอบสนอง
การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งมีองค์ประกอบของความสุข แบ่งเป็น 3 ระดับคือ
1. ระดับคุคล คือ
สุขภาพร่างกายดี
สุขภาพจิตดี
สุขภาพสังคมดี
สุขภาพปัญญาดี
2. ระดับครอบครัว ชุมชน
ปัจจัยดำรงชีพพอเพียง
รายได้ การงาน หลักประกันปัจจัยสี่
ความรู้และศักยภาพในการเรียนรู้
ครอบครัวอบอุ่น
ชุมชนเข้มแข็ง
สิ่งแวดล้อมดี
3. ระดับสังคม (ระดับชาติ)
ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
ความก้าวหน้าของทรัพยากรมนุษย์
ความเจริญทางสังคมวัฒนธรรม
การบริหารจัดการที่ดี
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถาบันที่ดูแลและเกี่ยวข้องกับกิจกรรมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คือ บ้าน + ตนเอง + โรงเรียน + วัด + และรัฐบาล อันจะนำไปสู่เรื่องราวการพัฒนามนุษย์ ดังนี้คือ
1. สถาบันครอบครัว family ดูแลตั้งแต่แรกเกิด
2. การศึกษา Education ตั้งแต่วัยทารก ถึงวัยชรา เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต Formal , Informal ,Non-formal
3. การฝึกอบรม Training
4. ดูแลสุขภาพอนามัยและโภชนาการ Health and Nutrition
5. การอพยพ Migration ในลักษณะของการเพิ่มคุณภาพทรัพยากรมนุษย์
6. ข่าวสารที่เกี่ยวกับตลาดแรงงาน Job-market Information
7. ประสบการณ์ในการทำงาน Work Experience
8. สภาวะแวดล้อม Environment
1. Paper
2. Present
3. power point
4. บรรณานุกรม การอ้างอิง
เรื่องที่ค้นคว้า(เน้นประเทศไทยเอาประเทศอื่นเปรียบเทียบ)
1. คุณภาพชีวิต และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ความหมายและหลักการ การนำไปใช้ แล้วได้อะไร)
2. ความสุขและตัวชี้วัดความสุขของคนในชาติ(อธิบายเรื่อง HDI และค้น HPI )
3. แปรถิ่นเปลี่ยนฐาน (สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานประชาธิปไตย) ใช้หนังสือของ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เรื่อง “แปรถิ่น เปลี่ยนฐานะ : การสร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของประชาธิปไตย” นศ.ต้องย่อเพียงตอน ไม่ใช่ทั้งบท ควรไปหาซื้อมาอ่านซะให้ได้ ที่ซีเอ็ดบุ๊ค
4. วาทกรรม การพัฒนา (กลุ่ม 4) อธิบายความหมาย คืออะไร ประโยชน์อะไร นำมาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างไร
5. แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย จากหนังสือ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”(ความหมาย ประโยชน์ การนำไปใช้)
หมายเหตุ ทำรายงาน 2 ชุด ส่งและให้อาจารย์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น