วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

กรอบการศึกษาวิชา รัฐศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์ กับนโยบายสาธารณะ

กรอบการศึกษาวิชา รัฐศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
นโยบายสาธารณะ
รัฐประศาสนศาสตร์
นโยบายสาธารณะ
การบริหารกิจการของรัฐ
การบริหารจัดการ
นโยบายสาธารณะ


นโยบายสาธารณะ
Paul  H. Appleby (1949:67)  แสดงความคิดเห็นว่า  บทบาทของฝ่ายกำหนดนโยบาย(Policy making) และฝ่ายบริหาร(administration) จะต้องทำงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือต้องทำงานอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ การตอบสนองความต้องการของประชาชน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการทำงานเป็นไปโดยราบรื่น

Public Administration


Public Policy                        Public Personal  (H.R)                       Public Finance
Public Policy
นโยบายสาธารณะ (public policy) หมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำให้มีกิจกรรมหรือการกระทำต่าง ๆ เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการวางแผน การจัดทำโครงการ วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และความต้องการของประชาชน ผู้ใช้บริการในแต่ละเรื่อง
นิยาม
1. สิ่งใดก็ตามที่รัฐบาลเลือกจะกระทำหรือไม่กระทำ
2. กิจกรรมต่าง ๆ ที่รัฐบาลหรือองค์กรของรัฐจัดทำขึ้นเช่น การจัดการบริการสาธารณะ (public services ),การจัดทำสินค้าสาธารณะ (public good),การออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย
3. แนวทางปฏิบัติบัติที่กำหนดขึ้น เพื่อตอบสนองต่อปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น หรือแนวทางที่รัฐบาลกำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา
4. ความคิดของรัฐที่กำหนดว่าจะทำอะไรหรือไม่ อย่างไร เพียงไร เมื่อไร  
5. แนวทางกว้าง ๆ ที่รัฐบาล (ไม่ว่าจะระดับใด) กำหนดขึ้นเพื่อล่วงหน้า เพื่อเป็นการชี้นำให้เกิดการกระทำต่าง ๆ ตามมา
1. ตัวอย่าง....ตำแหน่งวิเคราะห์นโยบายและแผน
ความรู้ที่ต้องการ
1.               มีความรู้ในวิชาการวิจัยทางสังคมศาสตร์  การวางแผนและการบริหารอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
2.               มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายขององค์กรนั้นๆ  เช่น กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้การปฏิบัติงานในหน้าที่
3.               มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม  โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศ
4.               มีความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติในหน้าที่
5.               มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล  วิเคราะห์ปัญหาและสรุป

บุคคลที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ
1.               ผู้กำหนดนโยบาย(ผู้บิหาร)
2.               ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ(ผู้ปฏิบัติ)
3.               ผู้ได้รับผลกระทบกับนโยบาย(ประชาชน)
Public Policies


1.Policy Sources    2.policy cycles      3.International Perspective on policy making    4.Who has the power in policy making              
1.               แหล่งที่มาของนโยบาย
2.               นโยบายทุกนโยบาย มีวงจรที่มา
3.               นโยบายต้องเกี่ยวข้องกับการต่างประเทศ อิทธิพล เงื่อนไขจากต่างประเทศหรือไม่
4.               ใครที่แท้จริงที่เป็นผู้กำหนดนโยบาย
นโยบายต่างๆ

1.Policy Sources
แหล่งที่มาของนโยบาย เช่น พระราชอำนาจและสถานะ . ผู้สำเร็จราชการ ,องคมนตรี , องค์กรของรัฐ , สิทธิหน้าที่ , นโยบายพื้นฐาน , รัฐสภา , ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คณะรัฐมนตรี  ศาล  องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ จริยธรรม การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
2.policy cycles
นโยบายทุกนโยบาย มีวงจรที่มา เช่น การสืบราชสมบัติ วาระผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์  การเลือก แต่งตั้ง พ้นตำแหน่งขององคมนตรี อายุของสภา การสิ้นสุด พิจารณาพระราชบัญญัติ การพ้นตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ พ้นตำแหน่งผู้พิพากษา ระยะเวลาพิจารณาพรบ. กำหนดระยะเวลายื่นทรัพย์สิน วาระการดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา ,องค์กรอิสระ กำหนดระยะเวลาในการยื่นทรัพย์สิน การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น , กำหนดระยะเวลาตามบทเฉพาะกาล
3.International Perspective on policy making
นโยบายต้องเกี่ยวข้องกับ อิทธิพล เงื่อนไขจากต่างประเทศหรือไม่
4.Who has the power in policy making        
ใครที่แท้จริงที่เป็นผู้กำหนดนโยบาย

                นโยบายสาธารณะ เกี่ยวข้องกับ

Public policy  
Problems  Players  and the Policy
“ปัญหา ผู้กำหนดปัญหา และนโยบาย”


 นโยบายสาธารณะ   :    รัฐศาสตร์  ต่อ  รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐศาสตร์
1.               สาระเนื้อหาขอนโยบายสาธารณะ
2.               นโยบายสิ่งแวดล้อม สวัสดิการ การศึกษาพลังงาน
3.               เน้นการวิเคราะห์ผู้นำชุมชน กลุ่ม อิทธิพล สถาบันการเมือง ระบบการเมือง และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ
รัฐประศาสนศาสตร์(Nicholas Henry 1995)
1.               การศึกษาการกำหนดนโยบายสาธารณะและการนำไปปฏิบัติ
2.               ศึกษาความสัมพันธ์ตัวแปรต่างๆ ที่ก่อผลสำเร็จหรือล้มเหลว
3.               การวิเคราะห์ผลผลิตของนโยบาย  ผลกระทบของนโยบาย  นโยบายสอดคล้องกับเป้าประสงค์หรือไม่

แนวการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

เนื้อหาสาระ
การกำหนดนโยบายทำอย่างไร
ประเภท/กิจกรรม
การนำไปปฏิบัติ
ผู้มีบทบาทในการสร้างนโยบาย
เหตุผลที่สำเร็จ /ล้มเหลว
ความสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ
ผลที่ได้รับ/ผลกระทบ

ความสอดคล้องกับเป้าประสงค์


ความสำคัญในความหมายของนโยบายสาธารณะ
1.               ค่านิยม (หัวใจสำคัญของนโยบายสาธารณะ)
2.               สาธารณชนสนใจ
3.               ประชาชน
-       สนใจ
-       ปัญหา
-       มีความขัดแย้ง
-       สามารถทำให้ความร่วมมือ
4.               การเลือก
-       ทำ/ไม่ทำ
5.               การจัดทำ
-       เป้าหมาย
-       แผนโครงการ
-       การปฏิบัติ
6.               หน่วยงานดำเนินงาน
-       องค์การภาครัฐ/ รัฐบาล/ผู้บริหาร

นโยบายสาธารณะ หมายถึง
1.               สิ่งที่รัฐบาลเลือกทำหรือไม่ทำ (Thomas Dye, 1984)
2.               แบบแผนเพื่อแก้ไขความขัดแย้งหรือตอบแทนความร่วมมือของประชาชน (Fred M. Frohoch, 1979)
3.               แนวปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาที่สาธารณชนสนใจ (James Anderson ,1994)
4.               การจัดสรรค่านิยมของสังคมเพื่อกำหนดว่าจะทำหรือไม่ทำ (Devid Easton , 1953)
5.               แผนหรือโครงการที่มีเป้าหมายหลายทาง ค่านิยมและการปฏิบัติต่างๆ (Lasswell & Kaplan , 1970)
6.               ข้อเสนอที่มีเป้าประสงค์เพื่อใช้แก้ปัญหา (Carl J. Friedrich ,1963)
7.               กิจกรรมที่กระทำโดยรัฐบาลหรือองค์การรัฐ (Ira Sharkansky , 1970)
“The government, whether it is city, state ,or federal, develops public policy in terms of law , regulations, decisions, and actions.”
"รัฐบาลไม่ว่าจะเป็นเมือง, รัฐหรือรัฐบาลกลาง, พัฒนานโยบายสาธารณะในแง่ของกฎหมาย กฎระเบียบ
ในการตัดสินใจและการกระทำ "
นโยบายสาธารณะ Norton E.Long (1962)
                ให้ความเห็นว่า  “รัฐประศาสนศาสตร์  จะต้องสนใจศึกษา  เกี่ยวกับ ระบบการเมือง รัฐธรรมนูญ และกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ  เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับที่มาของปัญหานโยบาย และเป้าประสงค์ของนโยบายทางด้านการบริหารจะต้องนำไปปฏิบัติให้บรรลุอย่างมีประสิทธิภาพ”
ค่านิยมของสังคมในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ  กฎหมายที่เป็นรากฐานในการก่อตั้งสถาบันทางการเมือง
1.          สถาบันทางการเมือง
2.          ขอบเขตอำนาจรัฐ
3.          หลักประกันสิทธิ
4.          เสรีภาพของประชาชน
ค่านิยมในช่วงการร่างรัฐธรรมนูญ 2550
1.               คุณสมบัติของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
2.               ค่านิยมในการกำหนดหลักเกณฑ์วิธีสรรหาบุคคล
3.               ค่านิยมที่ปฏิเสธพรรคการเมือง
4.               การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
ค่านิยมที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
1.               ราชอาณาจักรเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
2.               ระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
3.               พระมหากษัตริย์ คำรงตำแหน่งจอมทัพไทย
4.               พระมหากษัตริย์ เป็นที่เคารพสักกระ
5.               ปกครองด้วยระบบนิติรัฐ
6.               ระบบรัฐสภา
7.               การใช้อำนาจอธิปไตย
8.               ประเพณีในการปกครอง
9.               ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

โครงสร้างการพิจารณานโยบายสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม

ประเด็น
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
ประเด็นสิ่งแวดล้อม
-                    การอนุรักษ์
-                    การป้องกัน
-                    การฟื้นฟู
-                    การแก้ไข

มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
-                    ข้อกำหนดและการควบคุม
-                    มาตรการด้านเศรษฐกิจ
-                    มาตรการความร่วมมือและการร่วมใจ




1.Policy Sources
นักวิชาการ  ศูนย์เตือนภัย  โหร รัฐบาล  ผู้ว่า  กรมอุตุ ฯลฯ
2.policy cycles

3.International Perspective on policy making
นโยบายต้องเกี่ยวข้องกับ อิทธิพล เงื่อนไขจากต่างประเทศหรือไม่
4.Who has the power in policy making        
ใครที่แท้จริงที่เป็นผู้กำหนดนโยบาย


ลักษณะของสิ่งแวดล้อม
1.                เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2.                สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
การใช้ประโยชน์จนเกิดปัญหา
1.                การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
2.                ปัญหาที่ดิน
3.                ปัญหาน้ำ
4.                ปัญหาโลกร้อน ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
5.                ปัญหาขยะและสารพิษ

4 ความคิดเห็น:

  1. จบไปแล้วทำงานอะไรได้บ้างง

    ตอบลบ
  2. จบไปแล้วทำงานอะไรได้บ้างง

    ตอบลบ
  3. ระบบราชการใช้ครับ ก็เป็นนักการเมืองได้นะ

    ตอบลบ
  4. ระบบราชการใช้ครับ ก็เป็นนักการเมืองได้นะ

    ตอบลบ